เศรษฐกิจ/การเมือง
พื้นที่ | ๓๓ ตร.กม. |
ประชากร | ประมาณ ๖๘๒,๐๗๐ คน (ปี ๒๕๖๔) |
ภาษา | จีนกวางตุ้ง จีนกลาง อังกฤษ โปรตุเกส |
ศาสนา | พุทธมหายาน ลัทธิเต๋า คริสต์ |
ผู้บริหารสูงสุด (Chief Executive) |
นาย Ho Iat Seng เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ ๒๐ ธ.ค. ๒๕๖๒ |
ชนชาติหลัก | จีน (ร้อยละ ๙๕) โปรตุเกส ฟิลิปปินส์ |
GDP | ๒๓๙,๔๐๖ พันลา้น MOP (ข้อมูลปี ๒๕๖๔) |
GDP per capita | ๓๕๐,๔๔๕ MOP (ข้อมูลปี ๒๕๖๔) |
GDP growth | เติบโตร้อยละ ๑๗.๑ (ขอ้ มูลปี ๒๕๖๔) |
สกุลเงิน | ปาตากา (หน่วย : ปาตากา MOP) (๘.๐๒ MOP ตอ่ ๑ USD / ๔.๑๐ บาท ต่อ ๑ MOP) |
เงินทุนสํารอง | USD ๒๕.๙๗ พันล้าน (ข้อมูลปี ๒๕๖๕) |
อัตราเงินเฟ้อ | ร้อยละ ๐.๗๖ (ข้อมูลปี ๒๕๖๕) |
ทรัพยากรธรรมชาติ | มาเก๊ามีพื้นท่ีจํากดัและไมม่ี ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการส่งออก |
สินค้าส่งออกที่สำคัญ | เครื่องจักรและชิ้นส่วนนาฬิกาสิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่ม อัญมณี |
สินค้านําเข้าที่สําคัญ | อาหารและเครื่องดื่ม ทองคํา เครื่องประดับ เสื้อผ้าและรองเท้า นาฬิกา โทรศัพท์มือถือ กระเป๋า |
อุตสาหกรรมหลัก | การท่องเท่ียว บันเทิง การก่อสร้าง การจัดการประชุมและนิทรรศการ |
ตลาดส่งออกที่สำคัญ | ฮ่องกง จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียตนาม เยอรมนี อังกฤษ |
ตลาดนำเข้าที่สำคัญ | จีน อิตาลี ฮ่องกง ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ไต้หวัน สิงคโปร์ และ เยอรมนี |
การท่องเที่ยวการค้ากับไทย | ปี ๒๕๖๕ มีมูลค่าการค้ารวม USD ๔๓.๗๔ ล้าน (เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘.๒๔ จากปี ๒๕๖๔) โดยไทยส่งออก USD ๓๓.๔๐ ล้าน (เพิ่มขึ้นร้อยละ ๙.๒๖ จากปี ๒๕๖๔) และนําเข้า USD ๑๐.๓๓ ลา้น (เพิ่มขึ้นร้อยละ ๕.๐๘ จากปี ๒๕๖๔) ส่งผลให้ไทยได้เกินดุลการค้า USD ๒๓.๐๗ ล้าน |
สินค้านําเข้าจากมาเก๊า | สินแร่โลหะ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ลวดและ สายเคเบิล เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด เสื้อผ้าสําเร็จรูป รองเท้า ผ้าผืน |
สินค้าส่งออกจากไทย | อัญมณีและเครื่องประดับ ข้าว ผลิตภัณฑ์ข้าว อุปกรณ์กึ่งตัวนํา ทรานซิสเตอร์และไดโอดแผงวงจรไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก เภสัชภัณฑ์ นาฬิกาและส่วนประกอบ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ ผักกระป๋อง |
การท่องเที่ยว | ในปี ๒๕๖๕ มีนักทอ่งเที่ยวเดินทางมาเยือนมาเก๊าทั้งสิ้น ๕,๓๑๐,๙๔๙ คน โดยปริมาณนักท่องเที่ยวสูงสุด ๕ ประเทศแรกมาจาก จีน ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลี ญี่ปุ่น โดยเดินทางมายังมาเก๊าทางบกมากที่สุดสูงถึงร้อยละ ๙๓.๔๓ และมีอัตราการพักโดยเฉลี่ยในมาเก๊าอยู่ที่ ๑.๕ วัน |
จํานวนคนไทยพํานักอาศัยในมาเก๊า | ๕๔๒ คน (ข้อมูลปี ๒๕๖๕) |
ทีมประเทศไทย | สกญ. ณ เมืองฮ่องกง สนง. สง่ เสริมการค้าระหว่างต่างประเทศ สนง. ศุลกากร สนง. แรงงาน สนง. ททท. สนง. เศรษฐกิจการลงทุน ณ นครกว่างโจว สนง. ทปษ. ฝ่ายการเกษตร ณ นครกว่างโจว |
วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.00-17.00 น. (ยกเว้นวันหยุดราชการ)
สำหรับการขอรับรองเอกสาร การยื่นและรับเอกสาร 09.30-12.30 น. |